MULT2302 Digital Creating

MULT2302 เทคนิคการสร้างสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์
Digital Creating Interactive Multimedia Technique

bulletคำอธิบายรายวิชา

       หลักการออกแบบและผลิตสื่อเชิงปฏิสัมพันธ์ในงานโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป หลักการออกแบบการใช้งานในลักษณะของ GUI เพื่อใช้งานด้าน ปฏิสัมพันธ์ในระบบ และการประยุกต์ใช้งานในการติดต่อโต้ตอบกับผู้ใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้สคริปต์ในการควบคุมการปฏิสัมพันธ์แบบยืดหยุ่น

bulletวัตถุประสงค์รายวิชา

  1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการออกแบบมัลติมีเดีย

  2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อปฏิสัมพันธ์

  3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะการผลิตสื่อแบบปฏิสัมพันธ์ได้

  4. นำความรู้ที่ได้รับบูรณาการสู่รายวิชาการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียและรายวิชาการวิจัยทางเทคโนโลยีมัลติมีเดีย

bulletOnline Resources

bulletกิจกรรมการเรียนการสอน

สัปดาห์ เนื้อหา กิจกรรม สื่อประกอบ
1

ปฐมนิเทศการเรียนการสอน แนะนำรายวิชา การวัดและประเมินผล ข้อตกลง
วิธีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ความรับผิดชอบ การแต่งกายและการตรง ต่อเวลา
บทที่ 1 สื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์

บรรยายแบบออนไลน์ Powerpoint
2

1.1 ความหมายของสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์
1.2 องค์ประกอบของสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์
1.3 สื่อมัลติมีเดีย
1.4 วิวัฒนาการของมัลติมีเดีย
1.5 มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์
1.6 บทบาทของสื่อมัลติมีเดีย
1.7 คุณลักษณะสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
1.8 ข้อดีของสื่อมัลติมีเดีย
1.9 ข้อจำกัดของสื่อมัลติมีเดีย
1.10 ข้อควรคำนึงของสื่อมัลติมีเดีย
1.11 ประโยชน์ของมัลติมีเดีย
1.12 การออกแบบมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์
1.13 อุปกรณ์การผลิตสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์
1.14 ขั้นตอนการผลิตสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์

   
3

บทที่ 2 แนวคิดในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์
2.1 กฎของการออกแบบปฏิสัมพันธ์
2.2 รูปแบบของสื่อปฏิสัมพันธ์
2.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์
2.4 หลักการออกแบบกราฟิกในสื่อมัลติมีเดีย

   Powerpoint
4

2.5 สื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลมัลติมีเดีย
2.6 การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย
2.7 ประโยชน์ของสื่อมัลติมีเดีย
2.8 อนาคตของสื่อมัลติมีเดีย

   powerpoint
5

บทที่ 3 การพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์
3.1 กระบวนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
3.2 การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์
3.3 ตัวอย่างบทภาพ
3.4 การพัฒนาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์
3.5 หลักในการสร้างเว็บเพจ

   Powerpoint
6

3.6 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
3.7 ตัวอย่างการวิเคราะห์ความต้องการ
3.8 คุณลักษณะของโปรแกรมที่ดี
3.9 เครื่องมือในการออกแบบโปรแกรม
3.10 ประโยชน์ของคำสั่งเทียม

   Powerpoint
7

บทที่ 4 การออกแบบส่วนประสานกับผู้ใช้
4.1 ประเภทของส่วนประสานงานกับผู้ใช้
4.2 ส่วนประสานกับผู้ใช้และกฎเหล็กในการออกแบบ
4.3 ชนิดของส่วนประสานกับผู้ใช้
4.4 รูปแบบการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับระบบ
4.5 การนำเสนอสารสนเทศต่อผู้ใช้
4.6 รูปแบบการนำเสนอสารสนเทศ
4.7 กระบวนการออกแบบส่วนประสานกับผู้ใช้
4.8 การสร้างต้นแบบส่วนประสาน

   
8

4.9 การประเมินส่วนประสาน
4.10 การออกแบบส่วนต่อประสานเพื่อนำข้อมูลเข้า
4.11 หลักการออกแบบส่วนต่อประสาน
4.12 รูปแบบการนำข้อมูลเข้า
4.13 การควบคุมความถูกต้อง
4.14 การออกแบบลำดับการนำข้อมูลเข้า
4.15 การออกแบบเมนูคำสั่ง
4.16 โปรแกรมช่วยในการออกแบบ
4.17 การออกแบบส่วนต่อประสานเพื่อแสดงผลลัพธ์

   
9 สอบกลางภาค    
10

บทที่ 5 การออกแบบ Graphic User Interface (GUI)
สำหรับ Android

5.1 การออกแบบส่วนต่อประสาน
5.2 Principle หลักการในการออกแบบส่วนต่อประสาน
5.3 Ten Usability Heuristics

   
11

5.4 การออกแบบ Layout บนแอนดรอยด์
5.5 ขั้นตอนการออกแบบ User Interface (UI) android
5.6 การสร้างโปรเจ็กต์แอนดรอยด์
5.7 การออกแบบ User Interface

   
12

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้งานสื่อปฏิสัมพันธ์ผ่านเว็บ
6.1 ความหมายของปฏิสัมพันธ์
6.2 ความหมายของการเรียนรู้
6.3 ปฏิสัมพันธ์และการเรียนรู้ในสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
6.4 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ต
6.5 ประโยชน์การเรียนการสอนผ่านเว็บ
6.6 การเรียนการสอนแบบ e-Learning
6.7 การเรียนการสอนผ่านเครือข่าย
6.8 การเรียนการสอนออนไลน์
6.9 m-Learning

   
13

6.10 การเรียนการสอนโดยใช้สื่อมัลติมีเดีย
6.11 สื่อมัลติมีเดีย
6.12 ความเป็นมาของสื่อมัลติมีเดีย
6.13 องค์ประกอบของสื่อมัลติมีเดีย
6.14 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน
6.15 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอข้อมูล
6.16 รูปแบบของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน
6.17 การนำสื่อมัลติมีเดียไปใช้ในการสอน
6.18 การประยุกต์ใช้สื่อมัลติมีเดียทางการเรียนการสอน
6.19 ประโยชน์ของมัลติมีเดียทางการเรียนการสอน

   
14

บทที่ 7 การใช้งาน Action Script
7.1 การใช้งาน Symbol และ Instance
7.2 การแปลงวัตถุ (object) ให้เป็นซิมโบล (symbol)
7.3 ตัวอย่าง การนำซิมโบล (Symbol) และ อินสแตนซ์ (Instance) มาใช้
7.4 ตัวอย่างการใช้งานซิมโบลซ้อนซิมโบล
7.5 การใช้งาน Action Script
7.6 การเขียน Action Script บน Symbol Button
7.7 การเขียนคำสั่งให้กับปุ่ม
7.8 แนวทางการเขียน ActionScript
7.9 คำสั่ง Action Script

   
15

บทที่ 8 การเผยแพร่และการนำไปใช้
8.1 การนำเข้าไฟล์เสียง
8.2 การจัดการเกี่ยวกับเสียง
8.3 การนำเข้าไฟล์วิดีโอ
8.4 การทำงานกับ Flash Video
8.5 การปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับวิดีโอ
8.6 การสร้างมูฟวี่ (Movie)
8.7 การสร้างวัตถุ (Object)
8.8 การสร้างตัวอักษรและข้อความ
8.9 การใช้สี
8.10 การนำเสนอ
8.11 การ Export ไฟล์เพื่อนำไปใช้กับเอกสารอื่น ๆ
8.12 ขั้นตอนการส่งออกมูฟวี่

   
16 สอบปลายภาค    

 

bulletคะแนน

    • คะแนนระหว่างภาคเรียน 70%
      • คะแนนสอบกลางภาค 30%
      • คะแนนการเข้าเรียน 10%
      • คะแนนชิ้นงานหลัก 10%
      • คะแนนแบบฝึกหัด 10%
      • คะแนนชิ้นงานย่อย 10%
    • คะแนนปลายภาค 30%

bulletการประเมินค่าระดับคะแนน (โดยวิธีอิงเกณฑ์)

    • คะแนน 80 - 100 ค่าระดับ A
    • คะแนน 75 - 79 ค่าระดับ B+
    • คะแนน 70 - 74 ค่าระดับ B
    • คะแนน 65 - 69 ค่าระดับ C+
    • คะแนน 60 - 64 ค่าระดับ C
    • คะแนน 55 - 59 ค่าระดับ D+
    • คะแนน 50 - 54 ค่าระดับ D
    • คะแนน 0 - 49 ค่าระดับ F
    • กรณีคะแนนขาดชิ้นงานหลัก ขาดชิ้นงานย่อยเกินกว่า 2 ชิ้น จะถูกประเมิน I
    • กรณ๊ขาดสอบกลางภาคและปลายภาค จะถูกประเมิน F

bulletติดต่อผู้สอน

mail : kiadtipo@chandra.ac.thThis email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
line id : kiadtipong

MULT2701 Multimedia Archive and Application

MULT2701 : Multimedia Archive and Application
การจัดเก็บข้อมูลและการประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย

Google Classroom Class code = 5b3w2h5

bulletคำอธิบายรายวิชา

        ระบบการจัดการสารสนเทศ เทคนิคการบีบอัดข้อมูล การออกแบบฐานข้อมูลให้เหมาะสมกับการจัดเก็บและใช้งานข้อมูล ความปลอดภัยของสารสนเทศ การทำดัชนี การค้นคืน มาตรฐานต่าง ๆ ของ การจัดเก็บในสื่อประเภทต่าง ๆ แนวทางและความเหมาะสมของรูปแบบในการนำเสนอในแต่ละประเภทของงาน

bulletวัตถุประสงค์รายวิชา

  1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการระบบการจัดการสารสนเทศทางด้านมัลติมีเดียได้
  2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมในการจัดเก็บข้อมูลตามประเภทของงานได้
  3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบฐานข้อมูลมัลติมีเดียได้

bulletการเรียนการสอน

 บรรยาย  ปฏิบัติการ  สอนเสริม  ศึกษาด้วยต้นเอง
  • กรณีการเรียนการสอนปกติ บรรยาย 30 ชั่วโมง หรือ  2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
  • กรณีการเรียนการสอนออนไลน์ บรรยายสด 15 ชั่วโมงหรือสัปดาห์ละ 1 ชั่วดมง
  • กรณีการเรียนการสอนปกติ ฝึกปฏิบัติ 30 ชั่วโมง หรือ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
  • กรณีการเรียนการสอนออนไลน์ งดการปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
  • จัดทำคลิปวิดีโอขยายความรู้จากการบรรยายหรือการเรียนการสอนปกติ
  • สอนตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะรายหรือเฉพาะกลุ่ม
  • จัดทำใบความรู้
  • จัดทำลิงค์แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม เช่น เว็บไซต์ youtube หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ

bulletแผนการสอนรายสัปดาห์

ครั้งที่ เนื้อหา กิจกรรม
1 พบนักศึกษาชี้แจงการเรียนการสอน 
2

ระบบการจัดการสารสนเทศ

  • บรรยายประกอบสื่อ [ Load Slide ]
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
3 ระบบการจัดการสารสนเทศ Database system
  • บรรยายประกอบสื่อ [ Load Slide ]
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
4 เทคนิคการบีบอัดข้อมูล

  • บรรยายประกอบสื่อ [ Load Slide ]
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
5 การออกแบบฐานข้อมูล

  • บรรยายประกอบสื่อ [ Load Slide ]
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
6 การจัดเก็บและใช้งานข้อมูล

  • บรรยายประกอบสื่อ
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
7 สอบกลางภาค  
8 ความปลอดภัยของสารสนเทศ

  • บรรยายประกอบสื่อ
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
9 การทำดัชนี การค้นคืน

  • บรรยายประกอบสื่อ
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
10 มาตรฐานต่าง ๆของ การจัดเก็บในสื่อประเภทต่าง ๆ

  • บรรยายประกอบสื่อ
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
11 แนวทางและความเหมาะสมของรูปแบบในการนำเสนอในแต่ละประเภทของงาน
  • บรรยายประกอบสื่อ
  • เอกสารประกอบการบรรยาย
12 กรณีศึกษาการจัดเก็บข้อมูลภาพ
  • ตัวอย่าง
  • แบ่งกลุ่มศึกษา
13 กรณีศึกษาการจัดเก็บข้อมูลเสียง
  • ตัวอย่าง
  • แบ่งกลุ่มศึกษา
14 กรณีศึกษาการจัดเก็บข้อมูลวีดิทัศน์
  • ตัวอย่าง
  • แบ่งกลุ่มศึกษา
15 สรุปสารระ การเรียนรู้ร่วมกัน  
16 สอบปลายภาค  

bulletการจัดเก็บคะแนน

  1. คะแนนเก็บระหว่างภาค 70 คะแนน
    • คะแนนสอบกลางภาค 30 คะแนน
    • คะแนนการเข้าเรียน/พฤติกรรมการเรียน 10 คะแนน
    • คะแนนแบบฝึกหัด 10 คะแนน
    • คะแนนชิ้นงาน 20 คะแนน
  2. คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน

bulletเกณฑ์การวัดผล

  • ระดับดีเด่น A ......81 – 100 

  • ระดับดีมาก B+.....74 - 80
  • ระดับดี B.......68 - 74
  • ระดับเกือบดี C+....62 - 67
  • ระดับปานกลาง C......54 - 61
  • ระดับพอใช้ได้ D+....48 - 53
  • ระดับพอผ่าน D......41 - 47
  • เอาใหม่นะ F.......0 – 40

 

MTES1301 หลักการทางมัลติมีเดียและอีสปอร์ต

รหัสวิชา MTES1301 ชื่อวิชา หลักการทางมัลติมีเดียและดิจิทัลคอนเทนต์
Principles of Multimedia and Digital Content

ext com Google class room

  • ภาคปกติกลุ่ม [ 103 ] Class code = 44grjsx

ext mod ตรวจสอบ/ค้นหา email นักศึกษา new4a [ Click ]

หน่วยกิต 3(2-2-5)

bulletภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563
bulletอาจารย์ผู้สอน ผศ.เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
bulletสาขา มัลติมีเดียและอีสปอร์ต
bulletภาควิชา วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คำอธิบายรายวิชา
     ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมัลติมีเดีย สื่อต่าง ๆ เสียง วิดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว พัฒนาการของมัลติมีเดียและอี-สปอร์ต การโต้ตอบด้วยมัลติมีเดีย การใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยออกแบบการโต้ตอบ คอร์สแวร์ไฮเปอร์มีเดียเวิร์ลไวด์เว็บ และระบบมัลติมีเดียบนอินเทอร์เน็ตเทคโนโลยี

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายความหมาย องค์ประกอบ เกี่ยวกับมัลติมีเดียได้

  2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายพัฒนาการและหลักการทางอีสปอร์ตได้
  3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบและพัฒนาดิจิทัลคอนเทนต์สำหรับกีฬาอีสปอร์ตได้

วันเวลาที่สอน และ ห้องเรียน

      วันพฤหัส 8.30-12.30 ห้องเรียน 15-0501 13.30-17.30 ห้องเรียน 15-1007 17.30-21.00 ห้องเรียน 15-0505 อาคารจันทรากาญจนาภิเษก

ข้อกำหนดเฉพาะของรายวิชา

  • นักศึกษาภาคปกติต้องแต่งกายและใช้วาจาสุภาพเมื่อยู่ในมหาวิทยาลัย
  • นักศึกษาควรจัดหาสื่อบันทึกชนิด Flash Drive หรือ Google Drive สำหรับจัดเก็บสื่อ
  • นักศึกษาที่ขาดเรียนปกติหรือออนไลน์เกิน 5 ครั้งจะมีคะแนนการเข้าชั้นเรียนเป็น 0
  • นักศึกษาควรต้องมีอีเมล์ มหาวิทยาลัยเพื่อความสะดวกในการเข้าใช้งาน Google Classroom
สัปดาห์ที่ หัวข้อ / รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน หมายเหตุ
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดีย ความหมาย องค์ประกอบของมัลติมีเดีย ประโยชน์ของมัลติมีเดีย  
รูปแบบการนำเสนอ ส่วนประกอบพื้นฐาน ขอบเขตและลักษณะของมัลติมีเดีย  
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ไมโครคอมพิวเตอร์ จอภาพ อุปกรณ์นำเข้า ประมวลผล  
การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย ด้าน

การศึกษา การฝึกอบรม ความบันเทิง

 

แสดงผล การเก็บบันทึก การย่อขนาด และเทคโนโลยีซอฟต์แวร์มัลติมีเดีย

 
สื่อมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ  

กีฬาอีสปอร์ต และ พัฒนาการทางด้าน

อีสปอร์ต

 
8 สอบกลางภาค   -  
 10 การพัฒนาระบบมัลติมีเดีย การออกแบบการโต้ตอบ วงจรการพัฒนาระบบ  -  
11  อีเลิร์นนิ่ง ประโยชน์ของอีเลิร์นนิ่ง ระบบบริหารจัดการรายวิชา มาตรฐานสกอร์ม  
12 

ความรู้เกี่ยวกับ Digital Content , ประเภท , หลักการออกแบบ 

 
13  ไฮเปอร์เท็กซ์และไฮเปอร์มีเดีย หลักการของไฮเปอร์เท็กซ์ไฮเปอร์มีเดีย แบบจำลองการทำงาน ประโยชน์ ข้อจำกัด  
14  เวิลร์ดไวด์เว็บและอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีเครือข่าย เครือข่ายอินเตอร์เน็ต  
15  ระบบมัลติมีเดียบนเครือข่าย โปรโตคอล เทคโนโลยีเว็บไซต์ วิดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ (ต่อ)  
16   สอบปลายภาค  -  

คะแนนสำหรับการประเมินผล

  • คะแนนเก็บระหว่างภาค 70 คะแนน 
    • คะแนนการเข้าชั้นเรียน ความประพฤติ 10
    • คะแนนการค้นคว้ารายงาน 10
    • คะแนนสอบกลางภาค 30 คะแนน
    • คะแนนชิ้นงานปฏิบัติการ 20
  • คะแนนสอบปลาภาค 30 คะแนน

เกณฑ์ในการตัดเกรด

  • 0-49 คะแนน ได้ระดับ F
  • 50-54 คะแนน ได้ระดับ D
  • 55-59 คะแนน ได้ระดับ D+
  • 60-64 คะแนน ได้ระดับ C
  • 65-69 คะแนน ได้ระดับ C+
  • 70-74 คะแนน ได้ระดับ B
  • 75-79 คะแนน ได้ระดับ B+
  • 80-100 คะแนน ได้ระดับ A

ขาดสอบปลายภาคได้ระดับคะแนน FM ต้องยื่นคำร้องขอสอบภายใน 15 วันนับจากวันที่มีสอบ
นักศึกษาที่ไม่มีคะแนนเก็บเกินกว่า 3 ช่อง จะถูกประเมินผล F

เอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอน "หลักการทางเทคโนโลยีมัลติมีเดีย" ผศ. เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร

MULT3302 Digital sound system

รหัสวิชา MULT3302
ชื่อวิชา ระบบเสียงดิจิทัล (Digital sound system)
หน่วยกิต 3(2-2-5)

คำอธิบายรายวิชา
      ออกแบบระบบเสียงด้วยคอมพิวเตอร์ การดำเนินงานห้องสตูดิโอเสียงการบันทึกเสียงในระบบดิจิทัล กรณีศึกษาในการประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจ

 วัตถุประสงค์รายวิชา

    1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการเสียงแบบแอนาล็อกและแบบดิจิทัลได้
    2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบระบบเสียงได้
    3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบันทึกเสียง ผสมเสียงและแต่งเสียงดิจิทัลได้
    4. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้

เข้าห้องเรียน

ห้องเรียน Google Class MULT3302 กลุ่ม 101 ภาคปกติ >> รหัสเข้า ClassRoom = slxew7p
ห้องเรียน Google Class MULT3302 กลุ่ม 102 ภาคปกติ >> รหัสเข้า ClassRoom = yuzfhz7

ห้องเรียน Google Class MULT3302 กลุ่ม 201 ภาคสมทบ >> รหัสเข้า ClassRoom =  emzli74
google class

กิจกรรมการเรียนการสอน

สัปดาห์

เนื้อหา

กิจกรรม

สื่อประกอบ

1

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเสียง  หลักการทำงานของเสียง  การกำเนิดเสียงความสำคัญของเสียง  ระบบเสียงแบบแอนาล็อก(Ananlog)   ระบบเสียงดิจิทัล(Digital)

บรรยาย

แบบฝึกหัด

2

ระบบเสียงในคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เสียงระบบดิจิทัล

บรรยาย

แบบฝึกหัด


 [ Download Slide ]

3

ระบบเสียงรอบทิศทาง เช่น ระบบ 5.1 7.1 DTS THX เป็นต้น

บรรยาย

แบบฝึกหัด


เอกสาร [ Download ]

4

ห้องสตูดิโอเสียง  ห้องสตูดิโอชนิดต่างๆ

  อุปกรณ์ในสตูดิโอที่ควรทราบ

บรรยาย

แบบฝึกหัด

 [ Download Slide ]

 [ Sound Loop ]

5

การออกแบบสตูดิโอ มิติ วัสดุ มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง

บรรยาย

แบบฝึกหัด

 

6

ความรู้เกี่ยวกับระบบเครื่องเสียง PA

บรรยาย

มอบหมายงานค้นคว้า

แบบฝึกหัด

 [ Download Slide ]

 [ ใบงานกลุ่ม ]

7

สอบกลางภาค

   

8

ระบบการบันทึกเสียงแอนล็อกและดิจิทัล

บรรยาย

ปฏิบัติการ

 [ Download Slide ]

 [ Clip การสอน ]

9

การผสมเสียงและการตกแต่งเสียง เทคนิคพิเศษปฏิบัติการออกแบบระบบเสียงในคอมพิวเตอร์

บรรยาย

ปฏิบัติการ


 [ Download Slide ]

10

เครื่องเล่นเสียงและชนิดหัวต่อ

บรรยาย

ปฏิบัติการ

 [ Download Slide ]

 [ Clip การสอน ]

11

Digital Audio Interface, Digital Effect และ IP Standard

บรรยาย
สาธิต ด้วยวีดีทัศน์


 [ Download Slide ]

12-13

กรณีศึกษาเกี่ยวกับระบบเสียงดิจิทัล   การบันทึกเสียงสำหรับ Animation  การบันทึกเสียงสำหรับภาพยนตร์สั้น การบันทึกเสียงเพลง

บรรยาย

ปฏิบัติการ

 

14

นำเสนอผลงานและอภิปราย

นำเสนอหน้าชั้นเรียน

 

15

สรุปเนื้อหาและหลักการสำคัญของระบบเสียงดิจิทัล

อภิปรายร่วมกัน

 

คะแนน

    • คะแนนระหว่างภาคเรียน 70%
      • คะแนนสอบกลางภาค 30%
      • คะแนนการเข้าเรียน 10%
      • คะแนนชิ้นงานหลัก 10%
      • คะแนนแบบฝึกหัด 10%
      • คะแนนชิ้นงานย่อย 10%
    • คะแนนปลายภาค 30%

การประเมินค่าระดับคะแนน (โดยวิธีอิงเกณฑ์)

    • คะแนน 80 - 100 ค่าระดับ A
    • คะแนน 75 - 79 ค่าระดับ B+
    • คะแนน 70 - 74 ค่าระดับ B
    • คะแนน 65 - 69 ค่าระดับ C+
    • คะแนน 60 - 64 ค่าระดับ C
    • คะแนน 55 - 59 ค่าระดับ D+
    • คะแนน 50 - 54 ค่าระดับ D
    • คะแนน 0 - 49 ค่าระดับ F
    • กรณีคะแนนขาดชิ้นงานหลัก ขาดชิ้นงานย่อยเกินกว่า 2 ชิ้น จะถูกประเมิน I
    • กรณ๊ขาดสอบกลางภาคและปลายภาค จะถูกประเมิน F
yuzfhz7
 

 

 

Mult3903 หัวข้อเรื่องทางเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่ทันสมัย(Topics in Multimedia Technology)

รหัสวิชา : MULT3903
ชื่อวิชา: หัวข้อเรื่องทางเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่ทันสมัย(Topics in Multimedia Technology)


คำอธิบายรายวิชา

      ความก้าวหน้าเกี่ยวกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เช่น สื่อประสม ซอฟท์แวร์ ทฤษฎีระเบียบวิธีการ การประยุกต์ใช้งาน เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ที่ทันสมัย

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และสามารถนำความรู้ทางด้านวิชาการมาประยุกต์ใช้งานทางเทคโนโลยีมัลติมีเดียได้อย่างถูกต้อง

  2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะและความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียสมัยใหม่

  3. เพื่อให้ผู้เรียนมีกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อในระดับสู

ห้องเรียน Google Class

เข้าห้องเรียน Google classroom MULT3903

แผนการสอน

สัปดาห์ที่

เนื้อหา

กิจกรรม

-

วันหยุดราชการ

 

1

แนะนำเนื้อหารายวิชา และวิธีการเรียนการสอน ชี้แจงรายละเอียดเนื้อหา การส่งงาน การให้คะแนน

บรรยาย ค้นคว้า อภิปรายและทำ

2

แนะนำพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย

บรรยายและค้นคว้า

3

ประเภทของการวิจัยทางด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย

บรรยายและค้นคว้า

4

หัวข้อเรื่องทางเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่ทันสมัย

บรรยาย ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติและส่งงาน

5

แนะนำวิธีการศึกษาค้นคว้าเอกสาร หัวข้อ แหล่งที่มา พื้นฐานความรู้ในการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

บรรยาย ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติและส่งงาน

6

ผลการค้นคว้าของหัวข้อที่ศึกษา

บรรยาย ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติและส่งงาน

7

สอบกลางภาค

 

8

วิธีการวิเคราะห์หัวข้อเรื่องโครงการวิจัย และวิธีการสรุป

บรรยาย ฝึกปฏิบัติและส่งงาน

9

หัวข้อและขั้นตอนการเขียนโครงการวิจัย

บรรยาย ฝึกปฏิบัติและส่งงาน

10

หัวข้อและขั้นตอนการเขียนโครงการวิจัย(ต่อ)

บรรยาย ฝึกปฏิบัติและส่งงาน

11

ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยทางเทคโนโลยีมัลติมีเดีย

บรรยาย ฝึกปฏิบัติและส่งงาน

12

วิธีการนำเสนอโครงการวิจัย

บรรยาย ฝึกปฏิบัติและส่งงาน

13

นำเสนอโครงการวิจัยทางเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ตามกรณีศึกษาหรือตัวอย่างที่ได้ศึกษา

นำเสนองานรายบุคคล

14

นำเสนอโครงการวิจัยทางเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ตามกรณีศึกษาหรือตัวอย่างที่ได้ศึกษา

นำเสนองานรายบุคคล

15

อภิปรายสรุปผล สาระที่ได้

อภิปรายกลุ่ม

การวัดประเมินผล/ประเมินผล 70 : 30

  • คะแนนเก็บระหว่างภาค 70 คะแนน
    • งาน และแบบฝึกหัด 20 คะแนน
    • คะแนนสอบความคืบหน้า 30 คะแนน (กลางภาค)
    • อภิปรายหน้าชั้น 10 คะแนน
    • คะแนนการมาเรียน/จิตพิสัย 10 คะแนน
  • คะแนนนำเสนอ 3 บท 30 คะแนน (ปลายภาค)

การวัดประเมินผล

    • A ......81 – 100
    • B+.....74 - 80
    • B.......68 - 74
    • C+....62 - 67
    • C......54 - 61
    • D+....48 - 53
    • D......41 - 47
    • F.......0 – 40

ประเด็นหัวข้อที่ต้องศึกษาค้นคว้าMULT3903 Toppic

MULT3202 3D Model Design

รหัสวิชา : MULT3202
ชื่อวิชา : การออกแบบภาพจำลอง 3 มิติ
            3D Model Design
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
ผู้สอน : อ.เกียรติพงษ์  ยอดเยี่ยมแกร
สาขาวิชา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
ภาควิชา วิทยาศาสตร์ประยุกต์

คำอธิบายรายวิชา
         หลักการการออกแบบภาพ 3 มิติ โดยใช้หลักพื้นฐานจากรูปทรงเลขาคณิตแบบต่างๆ การสร้างพื้นผิว การกำหนดแสง การกำหนดมุมกล้อง และหลักการเบื้องต้นในการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่องานออกแบบและสร้างภาพ 3 มิติ

วัตถุประสงค์

      1. เพื่อให้นักศึกษาทราบหลักการออกแบบภาพ 3 มิติ
      2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวาดรูปพื้นฐานจากรูปทรงเรขาคณิต
      3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถกำหนดพื้นผิว แสง มุมกล้องได้สมจริง
      4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ 3 มิติได้

กิจกรรมการเรียนการสอน

สัปดาห์/ครั้งที่ เนื้อหาการเรียนการสอน กิจกรรม/สื่อ
1

พบนักศึกษาชี้แจงการเรียนการสอนตลอดภาคเรียน
หลักการทั่วไปของออกแบบภาพจำลอง 3 มิติ

Download [ Slide part 1 ]

บรรยาย
อภิปรายในชั้นเรียน
2 การใช้งานโปรแกรมออกแบบภาพจำลอง 3 มิติเบื้องต้น ภาพรวมโปรแกรม
มุมมอง การปรับมุมมอง เครื่องมือ และการวาดภาพรูปทรงพื้นฐาน
ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
สาธิตและสาธิต
3 การวาดภาพรูปทรงพื้นฐาน และการปรับแต่งคุณสมบัติรูปทรง
การเคลื่อนย้าย การย่อ การขยาย การปรับรายละเอียด
ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
บรรยายและสาธิต
4 การสร้างพื้นผิว การกำหนดพื้นผิว การใส่แสง และมุมกล้อง
การเรนเดอร์ภาพ
ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
บรรยายและสาธิต
5 การปรับแต่งองค์ประกอบย่อยของวัตถุ เช่น vertex , edge , vade ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
บรรยายและสาธิต
6 การขึ้นรูปวัตถุจากรูปทรงพื้นฐาน
Workshop 1 ยานอวกาศ
ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
บารรยายและสาธิต
7 สอบกลางภาค  
8 การขึ้นรูปวัตถุจากรูปทรงพื้นฐาน
Workshop 2 เครื่องใช้ภายในบ้าน
ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
บรรยายและสาธิต
9-10 การวาดภาพแบบจำลองขั้นสูง
Workshop 3
ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
บรรยายและสาธิต
11-12 Workshop 4 ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
บรรยายและสาธิต
13-14 การสร้างภาพเคลื่อนไหว การเรนเดอร์ภาพเคลื่อนไหว ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
บรรยายและสาธิต
15 สอบปลายภาค  

การวัดประเมินผล/ประเมินผล  70 : 30

    • คะแนนเก็บระหว่างภาค  70 คะแนน
      • งาน และแบบฝึกหัด  20  คะแนน
      • สอบกลางภาค  30 คะแนน
      • อภิปรายหน้าชั้น  10 คะแนน
      • คะแนนการมาเรียน/จิตพิสัย 10 คะแนน
    • คะแนนปลายภาค
      สอบปลายภาค  30 คะแนน
Joomla templates by Joomlashine